"ทฤษฎีจิตสังคมของอีริคสัน" | ทฤษฎี 8 ขั้น ที่ช่วยให้เข้าใจชีวิต

Sprouts ประเทศไทย
Sprouts ประเทศไทย
92.5 هزار بار بازدید - 6 سال پیش - ทฤษฎีจิตสังคมของอิริคสัน (Erikson's theory of psychosocial
ทฤษฎีจิตสังคมของอิริคสัน (Erikson's theory of psychosocial development) ได้แบ่งการพัฒนาของคนไว้ 8 ระยะ ตั้งแต่เกิดจนตาย โดยในแต่ละระยะ มนุษย์มีความต้องการและตั้งคำถามแตกต่างกัน อีกทั้งยังต้องพบปะผู้คนที่จะเข้ามามีบทบาทต่อพฤติกรรมและการเรียนรู้ของเราต่างกันด้วย

[0:18]
1) ความไว้วางใจ - ความไม่ไว้วางใจขั้นพื้นฐานของทารก (1-2 ปี)
    (Basic Trust vs. Mistrust, Infancy)

[0:51]
2) ความเป็นตัวของตัวเองอย่างอิสระ - ความละอายและความสงสัยในตัว
    เองของเด็กปฐมวัย (2-4 ปี)
    (Autonomy vs. Shame & Doubt, Early childhood)

[1:23]
3) การเป็นผู้ริเริ่ม - ความรู้สึกผิดของเด็กวัยก่อนเข้าโรงเรียน (4-5 ปี)
    (Initiative vs. Guilt, Preschool Age)

[1:59]
4) ความพากเพียรอุตสาหะ - ความรู้สึกอ่อนด้อยในเด็กวัยเรียน (5-12 ปี)
    (Industry vs. Inferiority, School Age)

[2:36]
5) การสร้างอัตลักษณ์ - ความสับสนในหน้าที่ในสังคมในช่วงวัยรุ่น (13-19
    ปี) (Identity vs. Role Confusion, Adolescence)

[3:14]
6) ความใกล้ชิดผูกพัน - ความอ้างว้างโดดเดี่ยวในช่วงวัยทำงาน (20-40 ปี)
    (Intimacy vs. Isolation, Early Adulthood)

[3:51]
7) การถ่ายทอดสู่คนรุ่นหลัง - ความคิดถึงแต่ตนเอง (40-65 ปี)
    (Generativity vs. Stagnation - Adulthood)

[4:32]
8) ความพอใจในตนเอง – ความสิ้นหวัง (65 ปีเป็นต้นไป)
    (Ego Integrity vs. Despair, Maturity)

------------------------------------------------------------------------
เรียนออนไลน์ "คอร์สเศรษฐศาสตร์" ฟรี! ได้ที่
https://tryfaildo.com

และติดตามข่าวสารดีๆจาก Sprouts ได้ที่เพจ
Facebook: sproutsschool

หากต้องการสนับสนุนเรา สามารถเข้าไปที่ลิ้งค์
Patreon: sprouts
6 سال پیش در تاریخ 1397/05/29 منتشر شده است.
92,542 بـار بازدید شده
... بیشتر