จัดตัวใหญ่ไปเลยยย...!! StepUp โมดูลเพิ่มแรงดันไฟ DC to DC ให้กระแสสูงถึง " 20A " แรงดัน 12V-80V

Zim Zim DIY
Zim Zim DIY
200.1 هزار بار بازدید - 2 سال پیش - 📌ลิงค์ ซื้อโมดูล StepUP (ต่างประเทศ) Shopee
📌ลิงค์ ซื้อโมดูล StepUP (ต่างประเทศ) Shopee 👉shope.ee/6zfc2CHBei Lazada 👉bit.ly/3FNK3Hd สวัสดีครับยินดีต้อนรับทุกท่านเข้าสู่ช่อง ZimZim DIY สำหรับคลิปนี้ ผมจะมารีวิว สเต๊ปอัพตัวใหม่ ตัวใหญ่ แอมป์เยอะ ซึ่งสเต๊ปอัพตัวนี้ผมไปค้นเจอ เป็นตัวที่เขาบอกว่า จ่ายกระแสได้สูงถึง 20A และ ไฟขาเข้า สามารถรับแรงดันได้ตั้งแต่ 8V - 60V ส่วน แรงดันไฟขาออกสามารถ จ่ายได้ตั้งแต่ 12V - 80V เลย.... ซึ่งถือว่า เร้นของมัน ค่อนข้างกว้างมากๆ ครับ สามารถเอาไปต่อประยุกต์การใช้งาน อุปกรณ์ประเภท โหลด กระแสตรง ได้ค่อนข้าง ครอบคุมเลยทีเดียว ราคาของมันก็ไม่แรงด้วยครับ 200 กว่าบาทแค่นั้นเอง ถ้าหากเพื่อนๆสนใจ หาสินค้าไม่เจอ ก็สามารถคลิกเข้าไปดูลิงค์สินค้า ใต้คลิปนี้ได้เลยนะครับ เรา มารูปโฉมภายนอกกันก่อนครับ ถ้าเอามาเทียบกับตัวเก่าของผมที่้เป็นตัว 6A , ตัวใหม่ 20A ขนาดของมัน ก็ถือว่าใหญ่กว่าข้อนข้าง เยอะ สังเกตุว่ามีหลายจุด ที่แตกต่างกัน อย่างเช่น C ขาเข้าก็จะขนานหลายตัว มากขึ้น จะใช้เป็น C ค่า 470uF 63V ขนาน ทั้งหมด 4 ตัว C ขาออกจะใช้เป็น C ตัวใหญ่ 470uF เท่าเดิม แต่ทนแรงดันได้ 100V ใช้ 3ตัว มีฟิวส์ ป้องกันการช๊อต แกนหม้อแปลงใหญ่ขึ้น พันขดลวดเยอะกว่า ใช้น่าจะเป็น มอสเฟส ตัวใหญ่ 1 ตัว วางไว้ด้านใต้เป็นแนวราบ ติดกับซิงค์ และที่ซิงค์ ระบายความร้อนก็จะใช้เป็นตัวใหญ่แผ่นยาว วางไว้ด้านล่างของบอร์ด เพื่อให้กระจายความร้อนได้ดีขึ้น และอุปกรณ์ทั้งหมดนี้ ที่ตัวใหญ่ขึ้น มันก็เพื่อ รองรับกระแสที่จะไหลในวงจร และ แรงดัน ในปรมาณมาก นั้นเองครับ ด้าน input ขั้ว + ก็คือ 2 ช่อง ทางซ้ายมือนี้นะครับ เขียนว่า VIN + ขั้ว - ก็คือ 2 ช่องขวามือนี้ เขียนว่า VIN - ขา 1 - 2 จะเชื่อมต่อถึงกัน นี่ครับ และ ขา 3 - 4 ก็จะเชื่อมต่อถึงกัน ส่วน Output ก็จะมี เครื่องหมายบวกลบ ให้เราต่อออกไปใช้งาน เด๊่ยวผมจะลอง ป้อนไฟ input ให้กับมัน ใช้โดยใช้แหล่งจ่ายเป็น PowerSuply Computer ลองเทส ดูก่อนนะคัรบ ว่ามันทำงานได้จริงหรือเปล่า และตรงส่วน Output ผมจะใช้ มัลติมิเตอร์วัด ดูแรงดันของมันครับ พอวัดแรงดัน แรงดันเริ่มต้น ทีให้มา วัดได้ 23V เดี่ยวผมจะหมุนปุ่ม วอลุ่ม ที่ติด กับไฟขาออกตรงนี้ หมุนทวนเข็มนาฬิกาลงต่ำสุด ดูเสี่ยก่อน ปรากฎว่า แรงดันต่ำสุดที่ในวงจรจริง 13.59V ครับ แล้วผมจะหมุนวอลุ่ม ตามเข็ม จนสุด แรงดันสูงสุด ที่ได้ ก็จะได้ประมาณ 84 V แต่ที่ซิงค์ ผมจับดู ตอนนี้มัน ก็ไม่ได้ร้อนอะไร นะครับ เพราะว่า โหลดมันไม่ได้ดึงกระแสไปใช้ เราวัดแต่แรงดัน เพราะฉะนั้น เดี่ยวผมทดสอบ เอาไปขับแอมป์ จิ๋ว กระแสวิ่งอยู่ ราวๆ ประมาณ 4 - 5 แอมป์ นี่ครับ ขับสบายๆ ชิวๆ เลยครับ มีกระแส กำลังสำรอง เพียบ และอีกตัวอย่างหนึ่ง ผมจะทดสอบ วัดกระแส กับ แอมป์รถยนต์ คลาส AB ผมจะต่อแบบบิรดจ์ โดยให้มันขับซับดอกสิบนิ้ว ต่อลงต่ำที่ 2โอห์ม มาดูกันครับ นี่ครับ กระแสขึ้นไปเรื่อยๆ 4 แอมป์ 5 แอมป์ 7แอมป์ 9 แอมป์ 10 นี่ครับ 13 แอมป์ แล้วครับ ผมลองวัดจริง มันพีค ถึง 14 แอมป์ เลยทีเดียวครับ ก็ถือว่าสเต๊ปอัพตัวนี้ไม่ธรรมดา จริงๆครับ กระแสขาเข้า ผมลองวัดดู นี่ครับ ดึงกระแสไปใช้พีคถึง 16.8 A แต่สำหรับการใช้งานจริง ๆ ทางร้านเขาแนะนำว่า ไม่ควรเกิน 15A ถ้าเกิน 15A แต่ตัวมันจะเริ่มร้อนขึ้น ต้องเปลี่ยนซิงค์ใหม่ที่ตัวใหญ่ขึ้น หรือไม่อย่างงั้นก็ ต้องติดตั้ง พัดลม เพื่อระบาย ความร้อนเพิ่มขึ้น และถ้าอยากได้ แอมป์เยอะกว่านี้ เขาบอกว่าสามารถ สเต๊ปอัพ 2ตัว มาต่อขนานกันได้ ก็จะได้แอมป์ คูณ 2 สำหรับผม ใช้งานจริงกระแส คงจะอยู่ราวๆ ไม่เกิน 10A ก็สรุปว่าใช้ตัวนี้ไปเลยดีกว่า เพราะมันมี กำลังสำรอง ที่ข้อนข้างเยอะ ดีครับ ไม่ต้องลุ้น ถ้าหากเพื่อนๆสนใจ ก็สามาารถคลิกลิงค์ใต้คลิปนี้เข้าไปดูรายละเอียดสินค้าได้ ขอบคุณเพื่อนทุกท่านที่ติดตามรับชมค
2 سال پیش در تاریخ 1401/03/02 منتشر شده است.
200,181 بـار بازدید شده
... بیشتر